ERP คืออะไร? พร้อมชื่อ ERP ที่แนะนำ!

หลายๆคนคงกำลังสงสัยใช่มั้ยละครับว่า ERP คือระบบอะไร ทำไมถึงมีคนพูดถึงและมองหากันเยอะ วันนี้ Toolscape จะมาอธิบายให้ฟังแบบสั้นๆ กันครับ

TYPE

Solution Guide

TOOL

ERP

✅ ย่อมาจากอะไร

ERP ย่อมาจาก Enterprise Resources Planning หรือถ้าแปลตรงตัวก็คือ ระบบบริหารทรัพยากรขององค์กร แต่ในไทยก็จะใช้คำว่า ระบบ ERP กันนี่ละครับ

✅ ย่อมาจากอะไร

ERP ย่อมาจาก Enterprise Resources Planning หรือถ้าแปลตรงตัวก็คือ ระบบบริหารทรัพยากรขององค์กร แต่ในไทยก็จะใช้คำว่า ระบบ ERP กันนี่ละครับ

✅ ใช้ทำอะไร

ERP คือระบบที่รองรับการบริหารการทำงานของทั้งองค์กร เป็นเหมือนกระดูกสันหลังขององค์กร ที่บริหารกระบวนการเอกสารต่างๆ และขั้นตอนการทำงานหลักๆ ของหลายๆ ฝ่ายงานในระบบเดียวกัน เช่น ฝ่ายขาย จัดซื้อ สต็อก คลังสินค้า ขนส่ง บัญชีการเงิน เป็นต้น เหมือนเป็นซอฟต์แวร์ที่ทุกฝ่ายงานใช้ร่วมกัน เพื่อให้งานต่อกันได้เนียนที่สุด

แต่ ERP จะรองรับงานของทุกฝ่ายได้หรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับขนาดของ ERP นั้นๆ อีก ในทั่วไป เราอาจจะแบ่ง ตลาดของ ERP ได้เป็น 3 Tiers สำหรับตลาดของไทยเรา

Tier แรก

เราอาจจะเรียกว่าเป็นตลาดของซอฟต์แวร์ที่โฟกัสเรื่อง Back-office อย่างโปรแกรมบัญชี ซึ่งจะโฟกัสที่เอกสารซื้อ ขาย ค่าใช้จ่าย ภาษี และการลงบัญชี เพื่อออกรายงานด้านบัญชีที่ถูกต้อง อาจจะมีในส่วนของสต็อกในเบื้องต้น ซอฟต์แวร์ใน Tier นี้จะไม่ได้มีความซับซ้อนมาก ใช้งานง่ายตรงไปตรงมา

Tier ที่ 2

เป็น ERP ขนาดกลาง ที่มีโมดูลขยายออกไปเพิ่มเติม และมีฟีเจอร์ที่ลึกขึ้นในทุกโมดูล เช่น ระบบสต็อก คลังสินค้า และวางแผนวัตถุดิบการผลิต

ส่วนมาก ERP ขนาดกลางจะรองรับเงื่อนไขและความต้องการทางธุรกิจที่ซับซ้อนได้มากขึ้น และรองรับการผลิตขั้นต้น เช่น รองรับสินค้าประเภท Lot, การบริหารสูตรการผลิต (BOM), การแปรสภาพหรือประกอบสินค้า, การคำนวณต้นทุนเชิงลึก, การให้รายงาน P&L ในหลากหลายมุมมอง เป็นต้น

อย่างไรก็ตาม ใน Tier นี้อาจจะไม่มีโมดูลแยกเฉพาะเจาะจงอย่าง HR, CRM, Quality control, WMS, Production planning หรือ Plant maintenance คือ อาจจะมีฟีเจอร์บางอย่างที่ทำบางเรื่องในโมดูลเหล่านี้ แต่ไม่ได้มีโมดูลนั้นๆ ที่ทำหน้าทีแบบครบวงจร ในกรณีนี้ก็ต้องมองหาระบบนั้นๆ มาเชื่อมต่อกันอีกที

Tier ที่ 3

เป็น ERP ขนาดใหญ่ ครอบคลุมเกือบทุกฝ่ายงานและมีโมดูลเฉพาะเจาะจงอย่างครบถ้วน ทำเรื่องผลิตและบริหาร Supply chain เชิงลึกได้ ส่วนมากที่เราเห็นในตลาดวันนี้จะเป็นซอฟต์แวร์จากต่างประเทศ และจะต้องมีการปรับเปลี่ยนหรือ Customize ซอฟต์แวร์ก่อนจะใช้งานได้

✅ ใช้ทำอะไร

ERP คือระบบที่รองรับการบริหารการทำงานของทั้งองค์กร เป็นเหมือนกระดูกสันหลังขององค์กร ที่บริหารกระบวนการเอกสารต่างๆ และขั้นตอนการทำงานหลักๆ ของหลายๆ ฝ่ายงานในระบบเดียวกัน เช่น ฝ่ายขาย จัดซื้อ สต็อก คลังสินค้า ขนส่ง บัญชีการเงิน เป็นต้น เหมือนเป็นซอฟต์แวร์ที่ทุกฝ่ายงานใช้ร่วมกัน เพื่อให้งานต่อกันได้เนียนที่สุด

แต่ ERP จะรองรับงานของทุกฝ่ายได้หรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับขนาดของ ERP นั้นๆ อีก ในทั่วไป เราอาจจะแบ่ง ตลาดของ ERP ได้เป็น 3 Tiers สำหรับตลาดของไทยเรา

Tier แรก

เราอาจจะเรียกว่าเป็นตลาดของซอฟต์แวร์ที่โฟกัสเรื่อง Back-office อย่างโปรแกรมบัญชี ซึ่งจะโฟกัสที่เอกสารซื้อ ขาย ค่าใช้จ่าย ภาษี และการลงบัญชี เพื่อออกรายงานด้านบัญชีที่ถูกต้อง อาจจะมีในส่วนของสต็อกในเบื้องต้น ซอฟต์แวร์ใน Tier นี้จะไม่ได้มีความซับซ้อนมาก ใช้งานง่ายตรงไปตรงมา

Tier ที่ 2

เป็น ERP ขนาดกลาง ที่มีโมดูลขยายออกไปเพิ่มเติม และมีฟีเจอร์ที่ลึกขึ้นในทุกโมดูล เช่น ระบบสต็อก คลังสินค้า และวางแผนวัตถุดิบการผลิต

ส่วนมาก ERP ขนาดกลางจะรองรับเงื่อนไขและความต้องการทางธุรกิจที่ซับซ้อนได้มากขึ้น และรองรับการผลิตขั้นต้น เช่น รองรับสินค้าประเภท Lot, การบริหารสูตรการผลิต (BOM), การแปรสภาพหรือประกอบสินค้า, การคำนวณต้นทุนเชิงลึก, การให้รายงาน P&L ในหลากหลายมุมมอง เป็นต้น

อย่างไรก็ตาม ใน Tier นี้อาจจะไม่มีโมดูลแยกเฉพาะเจาะจงอย่าง HR, CRM, Quality control, WMS, Production planning หรือ Plant maintenance คือ อาจจะมีฟีเจอร์บางอย่างที่ทำบางเรื่องในโมดูลเหล่านี้ แต่ไม่ได้มีโมดูลนั้นๆ ที่ทำหน้าทีแบบครบวงจร ในกรณีนี้ก็ต้องมองหาระบบนั้นๆ มาเชื่อมต่อกันอีกที

Tier ที่ 3

เป็น ERP ขนาดใหญ่ ครอบคลุมเกือบทุกฝ่ายงานและมีโมดูลเฉพาะเจาะจงอย่างครบถ้วน ทำเรื่องผลิตและบริหาร Supply chain เชิงลึกได้ ส่วนมากที่เราเห็นในตลาดวันนี้จะเป็นซอฟต์แวร์จากต่างประเทศ และจะต้องมีการปรับเปลี่ยนหรือ Customize ซอฟต์แวร์ก่อนจะใช้งานได้

✅ ประเภทย่อยๆ

ERP อาจจะแบ่งได้เป็นแบบ Generalist และ Industry-specific

  • แบบ Generalist คือ ERP ที่สามารถรองรับประเภทธุรกิจได้หลากหลาย อาจจะไม่ได้มีฟีเจอร์ที่ลึกลงไปสำหรับประเภทธุรกิจหนึ่งๆ แต่ก็สามารถ Customize เพิ่มเติมได้

  • แบบ Industry-specific คือ ERP ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับความต้องการของประเภทธุรกิจหนึ่งๆ โดยเฉพาะ เช่น ธุรกิจแฟชั่น/เสื้อผ้า โรงเรียน/มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ประกันภัย เป็นต้น

✅ ประเภทย่อยๆ

ERP อาจจะแบ่งได้เป็นแบบ Generalist และ Industry-specific

  • แบบ Generalist คือ ERP ที่สามารถรองรับประเภทธุรกิจได้หลากหลาย อาจจะไม่ได้มีฟีเจอร์ที่ลึกลงไปสำหรับประเภทธุรกิจหนึ่งๆ แต่ก็สามารถ Customize เพิ่มเติมได้

  • แบบ Industry-specific คือ ERP ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับความต้องการของประเภทธุรกิจหนึ่งๆ โดยเฉพาะ เช่น ธุรกิจแฟชั่น/เสื้อผ้า โรงเรียน/มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ประกันภัย เป็นต้น

✅ เหมาะกับใคร

ERP ในความหมายทั่วไปในตลาด จะหมายถึง ERP ใน Tier ที่ 2 ขึ้นไป ซึ่งธุรกิจที่จะมองหา ERP จะเป็นธุรกิจที่เติบโตแล้วในระดับหนึ่ง มีหลายฝ่ายงานที่แยกกันทำงานชัดเจน มีขั้นตอนกระบวนการทำงาน และความต้องการด้านระบบที่พอจะชัดเจน

ถ้าเป็นบริษัทที่ยังเล็กอยู่ หรือเพิ่งเปิดตัว ก็อาจจะยังไม่ถึงขนาดที่จะต้องซื้อ ERP อาจจะมองหาแค่โปรแกรมบัญชีก็พอ

✅ เหมาะกับใคร

ERP ในความหมายทั่วไปในตลาด จะหมายถึง ERP ใน Tier ที่ 2 ขึ้นไป ซึ่งธุรกิจที่จะมองหา ERP จะเป็นธุรกิจที่เติบโตแล้วในระดับหนึ่ง มีหลายฝ่ายงานที่แยกกันทำงานชัดเจน มีขั้นตอนกระบวนการทำงาน และความต้องการด้านระบบที่พอจะชัดเจน

ถ้าเป็นบริษัทที่ยังเล็กอยู่ หรือเพิ่งเปิดตัว ก็อาจจะยังไม่ถึงขนาดที่จะต้องซื้อ ERP อาจจะมองหาแค่โปรแกรมบัญชีก็พอ

✅ ตัวอย่างซอฟต์แวร์

ERP ต่างชาติที่ทุกคนน่าจะรู้จักดี ได้แก่

  • SAP ซึ่งก็จะมี Tier ของ Product แบ่งไปอีกเป็น SAP B1 หรือ SAP HANA

  • Microsoft เองก็มี Product หลายตัว เช่น Microsoft Dynamics 365 ซึ่งเพิ่งจะเปลี่ยนชื่อเป็น Business Central (BC) หรือ Microsoft Navision

  • นอกจากนี้ก็ยังมีค่าย Infor, Oracle และ QAD ที่เน้นเรื่องผลิต

ERP ที่เป็น Tier กลาง เช่น

  • MAC-5 Legacy

  • Winspeed

  • Odoo

  • Ecount ERP

  • Formula

  • Crystal Soft

  • Mango

  • Pojjaman

เป็นต้น

แน่นอนว่า แต่ละตัวไม่ได้มีฟีเจอร์ที่เท่ากัน และโครงสร้างการคิดราคาไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้นจะต้องพิจารณาเปรียบเทียบอย่างละเอียดว่าใครจะสามารถรองรับความต้องการขององค์กรได้ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

✅ ตัวอย่างซอฟต์แวร์

ERP ต่างชาติที่ทุกคนน่าจะรู้จักดี ได้แก่

  • SAP ซึ่งก็จะมี Tier ของ Product แบ่งไปอีกเป็น SAP B1 หรือ SAP HANA

  • Microsoft เองก็มี Product หลายตัว เช่น Microsoft Dynamics 365 ซึ่งเพิ่งจะเปลี่ยนชื่อเป็น Business Central (BC) หรือ Microsoft Navision

  • นอกจากนี้ก็ยังมีค่าย Infor, Oracle และ QAD ที่เน้นเรื่องผลิต

ERP ที่เป็น Tier กลาง เช่น

  • MAC-5 Legacy

  • Winspeed

  • Odoo

  • Ecount ERP

  • Formula

  • Crystal Soft

  • Mango

  • Pojjaman

เป็นต้น

แน่นอนว่า แต่ละตัวไม่ได้มีฟีเจอร์ที่เท่ากัน และโครงสร้างการคิดราคาไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้นจะต้องพิจารณาเปรียบเทียบอย่างละเอียดว่าใครจะสามารถรองรับความต้องการขององค์กรได้ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

ASAP Project เป็นที่ปรึกษาด้าน Digital Transformation ที่จะช่วยสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับธุรกิจด้วยเทคโนโลยี

Feeling overwhelmed?
Let us help you find the right tools.

Feeling overwhelmed?
Let us help you find the right tools.

Feeling overwhelmed?
Let us help you find the right tools.