MRP คืออะไร? เครื่องมือวางแผนวัตถุดิบที่ธุรกิจผลิตไม่ควรพลาด!

อย่างที่ทุกท่านที่อยู่ในประเภทธุรกิจผลิตคงทราบดีอยู่แล้ว การวางแผนจัดซื้อและการใช้วัตถุดิบเพื่อการผลิต เป็นขั้นตอนสำคัญ ช่วยให้สามารถผลิตได้ตามเป้า Demand ที่วางไว้ และเก็บต้นทุนทั้งทางตรงและทางอ้อมได้

แน่นอนว่า ขั้นตอนนี้จะเริ่มซับซ้อนขึ้น เมื่อธุรกิจเริ่มขยายตัว และ Excel อาจจะเอาไม่อยู่แล้ว วันนี้ Toolscape จะพามารู้จักกับประเภทซอฟต์แวร์ “MRP” ที่เอาไว้จัดการ “การวางแผนวัตถุดิบเพื่อการผลิต” กันครับ

TYPE

Solution Guide

TOOL

MRP (Material Requirements Planning)

✅ ย่อมาจากอะไร?

MRP ย่อมาจาก "Material Requirements Planning" ซึ่งหากเราแปลตามตัวแล้วก็คือ ซอฟต์แวร์ วางแผนความต้องการวัตถุดิบ ซึ่ง MRP ก็มักจะเป็นเป็นซอฟต์แวร์เฉพาะทางตัวแรกๆ ที่ธุรกิจในอุตสาหกรรมการผลิตต้องหามาใช้งาน รองจากซอฟต์แวร์หลักอย่าง ERP


✅ ย่อมาจากอะไร?

MRP ย่อมาจาก "Material Requirements Planning" ซึ่งหากเราแปลตามตัวแล้วก็คือ ซอฟต์แวร์ วางแผนความต้องการวัตถุดิบ ซึ่ง MRP ก็มักจะเป็นเป็นซอฟต์แวร์เฉพาะทางตัวแรกๆ ที่ธุรกิจในอุตสาหกรรมการผลิตต้องหามาใช้งาน รองจากซอฟต์แวร์หลักอย่าง ERP


✅ ใช้ทำอะไร?

MRP ถูกใช้ในการวางแผนการซื้อวัตถุดิบเพื่อผลิตสินค้า โดยระบบจะตรวจสอบความต้องการวัตถุดิบจาก

  1. ออเดอร์การขาย ในกรณีที่เราต้องการจะผลิตสินค้าเพื่อ Made to order ว่ามีการขายสินค้ารายการไหนไปบ้างที่จะต้องทำการซื้อสินค้ารายการนั้นๆ หรือ วัตถุดิบในการผลิตสินค้ารายการนั้นๆให้เพียงพอต่อคำสั่งซื้อ

  2. ออเดอร์การสั่งผลิต ในกรณีที่เราต้องการจะผลิตสินค้าเพื่อ Made to stock และทราบจำนวนแน่ชัดแล้วว่า จะผลิตสินค้าตัวใดเท่าไหร่ตามที่ได้มีการ Forcast Demand ของสินค้าตัวนั้นๆ ให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า 

  3. คลังสินค้าคงเหลือ เพราะการสั่งซื้อสินค้าเข้ามาใหม่ทั้งหมด โดยไม่ตรวจสอบ สินค้าหรือ วัตถุดิบคงเหลือในคลังก่อน ก็คงจะฟังดูไม่สมเหตสมผลใช่ไหมล่ะครับ 

โดยเราจะใช้การตั้งค่าจุด Replenishment Point หรือ  Min - Max Stock หรือ ระดับสูงสุด - ต่ำสุด เพื่อให้ตัว MRP ทราบว่าถ้าสินค้า A ถึงระดับ Replenishment Point แล้วให้ MRP ทำการคำนวณว่าต้องสั่งซื้อเข้ามาเพิ่มเท่าไหร่ ให้เท่ากับระดับสูงสุด หรือ Max นั่นเอง

ซึ่งการใช้ MRP จะช่วยให้ธุรกิจสามารถวางแผนการจัดซื้อวัตถุดิบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ว่าต้องซื้อสินค้าอะไรเข้ามาเพิ่มบ้าง มากน้อยแค่ไหน ไมให้เราต้องเกิดการต้นทุมจมหายไปกับ Stock วัตถุดิบที่เก็บไว้มากเกินไป และ ช่วยแบ่งเบาภาระทีมงาน ที่ไม่ต้องมานั่งเช็คทีละรายการสินค้า ซึ่งเป็นงานที่ทำได้ไม่ง่ายเลย

✅ ใช้ทำอะไร?

MRP ถูกใช้ในการวางแผนการซื้อวัตถุดิบเพื่อผลิตสินค้า โดยระบบจะตรวจสอบความต้องการวัตถุดิบจาก

  1. ออเดอร์การขาย ในกรณีที่เราต้องการจะผลิตสินค้าเพื่อ Made to order ว่ามีการขายสินค้ารายการไหนไปบ้างที่จะต้องทำการซื้อสินค้ารายการนั้นๆ หรือ วัตถุดิบในการผลิตสินค้ารายการนั้นๆให้เพียงพอต่อคำสั่งซื้อ

  2. ออเดอร์การสั่งผลิต ในกรณีที่เราต้องการจะผลิตสินค้าเพื่อ Made to stock และทราบจำนวนแน่ชัดแล้วว่า จะผลิตสินค้าตัวใดเท่าไหร่ตามที่ได้มีการ Forcast Demand ของสินค้าตัวนั้นๆ ให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า 

  3. คลังสินค้าคงเหลือ เพราะการสั่งซื้อสินค้าเข้ามาใหม่ทั้งหมด โดยไม่ตรวจสอบ สินค้าหรือ วัตถุดิบคงเหลือในคลังก่อน ก็คงจะฟังดูไม่สมเหตสมผลใช่ไหมล่ะครับ 

โดยเราจะใช้การตั้งค่าจุด Replenishment Point หรือ  Min - Max Stock หรือ ระดับสูงสุด - ต่ำสุด เพื่อให้ตัว MRP ทราบว่าถ้าสินค้า A ถึงระดับ Replenishment Point แล้วให้ MRP ทำการคำนวณว่าต้องสั่งซื้อเข้ามาเพิ่มเท่าไหร่ ให้เท่ากับระดับสูงสุด หรือ Max นั่นเอง

ซึ่งการใช้ MRP จะช่วยให้ธุรกิจสามารถวางแผนการจัดซื้อวัตถุดิบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ว่าต้องซื้อสินค้าอะไรเข้ามาเพิ่มบ้าง มากน้อยแค่ไหน ไมให้เราต้องเกิดการต้นทุมจมหายไปกับ Stock วัตถุดิบที่เก็บไว้มากเกินไป และ ช่วยแบ่งเบาภาระทีมงาน ที่ไม่ต้องมานั่งเช็คทีละรายการสินค้า ซึ่งเป็นงานที่ทำได้ไม่ง่ายเลย

✅ ประเภทย่อยๆ

MRP มี 2 ประเภท ได้แก่ MRP I และ MRP II โดย 

  • MRP I หรือที่รู้จักกันในนาม "Material Requirements Planning" ใช้ข้อมูลจากวางแผนวัตถุดิบจาก คลังสินค้า และออเดอร์การผลิต (Manufacturing Order) โดยคำนวนผ่านสูตรการผลิต หรือ BOM (Bill of Material) เป็นหลัก

  • MRP II หรือที่รู้จักกันในนาม "Manufacturing Resources Planning" จะคล้ายกับ MRP I แต่ว่าจะเพิ่มความสามารถในส่วนของการ Forcast Demand ของสินค้าตัวนั้นๆ และ บางตัวก็มีความสามารถในการนำ Capacity หรือกำลังการผลิตของเครื่องจักรเข้ามาเป็นหนึ่งในปัจจัยการคำนวนได้อีกด้วย

✅ ประเภทย่อยๆ

MRP มี 2 ประเภท ได้แก่ MRP I และ MRP II โดย 

  • MRP I หรือที่รู้จักกันในนาม "Material Requirements Planning" ใช้ข้อมูลจากวางแผนวัตถุดิบจาก คลังสินค้า และออเดอร์การผลิต (Manufacturing Order) โดยคำนวนผ่านสูตรการผลิต หรือ BOM (Bill of Material) เป็นหลัก

  • MRP II หรือที่รู้จักกันในนาม "Manufacturing Resources Planning" จะคล้ายกับ MRP I แต่ว่าจะเพิ่มความสามารถในส่วนของการ Forcast Demand ของสินค้าตัวนั้นๆ และ บางตัวก็มีความสามารถในการนำ Capacity หรือกำลังการผลิตของเครื่องจักรเข้ามาเป็นหนึ่งในปัจจัยการคำนวนได้อีกด้วย

✅ เหมาะกับใคร?

MRP เหมาะสำหรับ

  • ธุรกิจที่มีการผลิตในปริมาณมาก โดยเฉพาะในธุรกิจที่มีขั้นตอนการผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อนจนการประเมินรายการวัตถุดิบที่ต้องซื้อด้วยวิธีแมนนวลเอาไม่อยู่แล้ว เช่น ธุรกิจ ผลิตอาหารและเครื่องดื่มขนาดใหญ่ ธุรกิจผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าอีเลกทรอนิค ธุรกิจชิ้นส่วนเครื่องจักรต่างๆ

  • อย่างไรก็ตาม ธุรกิจซื้อมาขายไปที่มีอัตราการหมุนเวียนสินค้าสูงมากๆ จนไม่สามารถให้พนักงานประเมินด้วยวิธี Manual เองได้ บางรายก็มีการนำ MRP เข้ามาใช้ในการวางแผนการซื้อสินค้าเข้ามาเติมสต็อคด้วยเช่นกัน เพียงแต่ว่า ไม่ต้องมีการคำนวนด้วยสูตรการผลิตเท่านั้นเอง

✅ เหมาะกับใคร?

MRP เหมาะสำหรับ

  • ธุรกิจที่มีการผลิตในปริมาณมาก โดยเฉพาะในธุรกิจที่มีขั้นตอนการผลิตสินค้าที่มีความซับซ้อนจนการประเมินรายการวัตถุดิบที่ต้องซื้อด้วยวิธีแมนนวลเอาไม่อยู่แล้ว เช่น ธุรกิจ ผลิตอาหารและเครื่องดื่มขนาดใหญ่ ธุรกิจผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าอีเลกทรอนิค ธุรกิจชิ้นส่วนเครื่องจักรต่างๆ

  • อย่างไรก็ตาม ธุรกิจซื้อมาขายไปที่มีอัตราการหมุนเวียนสินค้าสูงมากๆ จนไม่สามารถให้พนักงานประเมินด้วยวิธี Manual เองได้ บางรายก็มีการนำ MRP เข้ามาใช้ในการวางแผนการซื้อสินค้าเข้ามาเติมสต็อคด้วยเช่นกัน เพียงแต่ว่า ไม่ต้องมีการคำนวนด้วยสูตรการผลิตเท่านั้นเอง

✅ ตัวอย่างโซลูชัน MRP

ผู้ให้บริการ MRP อาจจะมีอยู่สองรูปแบบด้วยกันคือ

1) MRP เฉพาะทาง เช่น

  • Fishbowl

  • MRPEasy

  • Katana

2) MRP ที่เป็น Module ใน ERP ขนาดใหญ่

ที่รู้จักกันดีอย่าง

  • Infor

  • Oracle

  • SAP

  • Microsoft

  • Acumatica

  • และ Epicor

    เป็นต้น 

✅ ตัวอย่างโซลูชัน MRP

ผู้ให้บริการ MRP อาจจะมีอยู่สองรูปแบบด้วยกันคือ

1) MRP เฉพาะทาง เช่น

  • Fishbowl

  • MRPEasy

  • Katana

2) MRP ที่เป็น Module ใน ERP ขนาดใหญ่

ที่รู้จักกันดีอย่าง

  • Infor

  • Oracle

  • SAP

  • Microsoft

  • Acumatica

  • และ Epicor

    เป็นต้น 

ASAP Project เป็นที่ปรึกษาด้าน Digital Transformation ที่จะช่วยสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับธุรกิจด้วยเทคโนโลยี

Feeling overwhelmed?
Let us help you find the right tools.

Feeling overwhelmed?
Let us help you find the right tools.

Feeling overwhelmed?
Let us help you find the right tools.