10 จุดเด่นของ Infor CloudSuite Industrial (SyteLine) ERP สำหรับการผลิตทุกประเภท

สำหรับท่านที่กำลังมองหา ERP สำหรับวางแผนและจัดการการผลิตขององค์กรที่อาจจะมีสเกลใหญ่และมีความซับซ้อน ก็น่าจะเคยได้ยินชื่อเสียงของ “Infor” กันมาบ้างแล้ว

EP นี้ Toolscape จะพาทุกคนมารู้จักกับ “10 จุดเด่นของ ‘Infor CloudSuite Industrial (SyteLine)’ หรือ 'Infor CSI’ ”กันให้ลึกขึ้น!

TYPE

Solution Review

TOOL

ERP (Enterprise Resources Planning)

ภาพรวมของ Infor

แต่ก่อนที่เราจะพูดถึงจุดเด่น เรามาดูภาพรวมของ Infor กันก่อน

Infor ที่เรากำลังจะพูดถึงกันนี้เป็น "Infor CSI" ซึ่งเป็นเวอร์ชั่น Cloud ของ Infor SyteLine ซึ่งออกมาในตลาดก่อนหน้านี้นานแล้วและอาจจะมีบางฟีเจอร์ที่ไม่เหมือนกัน

Infor CSI มีจุดเด่นในตลาดมาตลอดด้วย

  • ความสามารถในการรองรับอุตสาหกรรมผลิตในหลากหลายรูปแบบ โดยเฉพาะการผลิตแบบ Discrete หรือผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง

  • ความยืดหยุ่นในการรองรับกระบวนการทำงานที่ไม่ตายตัว

  • และมองตนเองเป็นแพลตฟอร์มที่จะเชื่อมโยงระบบอื่นๆ มาทำงานร่วมกันผ่าน Cloud โดย Infor นั้นใช้ Cloud AWS เพื่อการันตีความมั่นใจ ความรวดเร็วและปลอดภัย

ในบทความนี้เราได้ “PPCC” ผู้ให้บริการและเป็นพาร์ทเนอร์ของ Infor ในไทยมาตั้งแต่ปี 2006 มาเป็นผู้ให้ข้อมูล

PPCC ถือเป็นหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญในระบบ Infor ที่มีประสบการณ์สูงที่สุดรายหนึ่งในไทย โดยผ่านการรับรองจาก Infor เอง และมีความพร้อมในการให้บริการธุรกิจในไทย ผ่าน E-learning platform อย่าง "ERP SkillUp" และแพ็กเกจในการ Localize ระบบที่พร้อมขึ้นงานได้เลย

ถ้าพร้อมแล้ว เรามาดู10 จุดเด่นของ “Infor CloudSuite Industrial (SyteLine) ” หรือ “Infor CSI” กันเลย!

01 APS (Advanced planning and scheduling) (การวางแผนการผลิตขั้นสูง)

สำหรับการวางแผนที่ซับซ้อน และต้องคำนึงถึงปัจจัยในการผลิตมากมาย จึงเกินมือ Excel ที่หลายๆ คนคงใช้กันอยู่ Infor CSI มีฟีเจอร์การวางแผนหรือที่เรียกกันว่า APS ที่ดีที่สุดตัวหนึ่งในตลาด ERP รองรับความซับซ้อนของเงื่อนไขได้อย่างยืดหยุ่น

โดยสามารถวางแผนได้ถึง 3 โหมด ได้แก่ โหมด MRP, โหมด APS แบบ Finite, และโหมด APS แบบ Infinite

โหมด MRP

สำหรับโหมด MRP จะเป็นการวางแผนโดยดูแค่วัตถุดิบในการผลิตเท่านั้น ไม่ได้คำนึงถึงเครื่องจักรหรือ Labor อื่นๆ โดยเมื่อระบุจำนวนสินค้าที่ลูกค้าต้องการ และระบุวัน Due Date ที่ต้องการสินค้า ระบบก็จะช่วยรันมาให้เลยว่าจะต้องมีวัตถุดิบพอในการผลิตหรือไม่ และควรจะซื้อหรือผลิตวัตถุดิบที่ไม่พอ เท่าใด และเมื่อไหร่

ต่างจากโหมด MRP จะเป็นโหมด APS ซึ่งมีทั้งแบบ Finite และ Infinite

โหมด APS - Finite/Infinite

ถ้าวางแผนด้วยโหมด APS - Finite ระบบจะดึงปัจจัยเรื่องกำลังผลิต เช่น เครื่องจักร Labor Tooling หรือเครื่องมือที่ต้องใช้ เวลาในการเซ็ทอัพเครื่อง หรือแม้แต่วันหยุดมาคำนึงในการวางแผนด้วย นอกจากนี้ ยังสามารถระบุได้ว่าจะให้ Priority กับออเดอร์ใดเป็นพิเศษก่อนหรือไม่

ส่วนโหมด APS - Infinite จะวางแผนแบบไม่สนใจปัจจัยใดๆ ข้างต้น

📍เราจะสามารถเห็นได้เลยว่า

  • สินค้านี้ มีอยู่แล้วเท่าไร จะต้องผลิตเพิ่มเท่าไหร่ และเมื่อใด

  • มีจองจากออเดอร์อื่นๆ ไปแล้วเท่าไหร่

  • จะสามารถส่งมอบให้ลูกค้าของเราได้วันไหน เพื่อที่จะได้แจ้งลูกค้าได้ในเบื้องต้นได้เลย

📍แผนงาน ทั้งหมดสามารถมองในรูปแบบของ Gantt chart ลงระดับของกลุ่ม Resource หรือขั้นตอนได้อีกด้วย

📍นอกจากนี้ ยังสามารถวางแผนแบบ Scenario ได้ หากมีการปรับเงื่อนไขในการผลิต เช่น

  • กะงาน เครื่องมือที่ใช้ เครื่องจักร เป็นต้น เพื่อเลือกดูว่า จะได้วันที่ผลิตสินค้าเสร็จเมื่อไหร่ เปรียบเทียบกัน โดย Scenario ตรงนี้จะไม่กระทบกับแผนการผลิตหลัก

  • ซึ่งจะเห็นได้เลยว่าแผนนี้จะ Delay มากน้อยกว่ากันอย่างไร

📍ด้วยการวางแผนต่างๆ ข้างต้น หากมีออเดอร์แทรกเข้ามา หรือลูกค้าต้องการขยับวันที่ได้ของ ให้เร็วขึ้น ก็สามารถกดปุ่ม “Get CTP” เพื่อหาวันที่ที่น่าจะได้สินค้า และแจ้งลูกค้าหรือวางแผนกันภายในได้ทันทีอีกด้วย

01 APS (Advanced planning and scheduling) (การวางแผนการผลิตขั้นสูง)

สำหรับการวางแผนที่ซับซ้อน และต้องคำนึงถึงปัจจัยในการผลิตมากมาย จึงเกินมือ Excel ที่หลายๆ คนคงใช้กันอยู่ Infor CSI มีฟีเจอร์การวางแผนหรือที่เรียกกันว่า APS ที่ดีที่สุดตัวหนึ่งในตลาด ERP รองรับความซับซ้อนของเงื่อนไขได้อย่างยืดหยุ่น

โดยสามารถวางแผนได้ถึง 3 โหมด ได้แก่ โหมด MRP, โหมด APS แบบ Finite, และโหมด APS แบบ Infinite

โหมด MRP

สำหรับโหมด MRP จะเป็นการวางแผนโดยดูแค่วัตถุดิบในการผลิตเท่านั้น ไม่ได้คำนึงถึงเครื่องจักรหรือ Labor อื่นๆ โดยเมื่อระบุจำนวนสินค้าที่ลูกค้าต้องการ และระบุวัน Due Date ที่ต้องการสินค้า ระบบก็จะช่วยรันมาให้เลยว่าจะต้องมีวัตถุดิบพอในการผลิตหรือไม่ และควรจะซื้อหรือผลิตวัตถุดิบที่ไม่พอ เท่าใด และเมื่อไหร่

ต่างจากโหมด MRP จะเป็นโหมด APS ซึ่งมีทั้งแบบ Finite และ Infinite

โหมด APS - Finite/Infinite

ถ้าวางแผนด้วยโหมด APS - Finite ระบบจะดึงปัจจัยเรื่องกำลังผลิต เช่น เครื่องจักร Labor Tooling หรือเครื่องมือที่ต้องใช้ เวลาในการเซ็ทอัพเครื่อง หรือแม้แต่วันหยุดมาคำนึงในการวางแผนด้วย นอกจากนี้ ยังสามารถระบุได้ว่าจะให้ Priority กับออเดอร์ใดเป็นพิเศษก่อนหรือไม่

ส่วนโหมด APS - Infinite จะวางแผนแบบไม่สนใจปัจจัยใดๆ ข้างต้น

📍เราจะสามารถเห็นได้เลยว่า

  • สินค้านี้ มีอยู่แล้วเท่าไร จะต้องผลิตเพิ่มเท่าไหร่ และเมื่อใด

  • มีจองจากออเดอร์อื่นๆ ไปแล้วเท่าไหร่

  • จะสามารถส่งมอบให้ลูกค้าของเราได้วันไหน เพื่อที่จะได้แจ้งลูกค้าได้ในเบื้องต้นได้เลย

📍แผนงาน ทั้งหมดสามารถมองในรูปแบบของ Gantt chart ลงระดับของกลุ่ม Resource หรือขั้นตอนได้อีกด้วย

📍นอกจากนี้ ยังสามารถวางแผนแบบ Scenario ได้ หากมีการปรับเงื่อนไขในการผลิต เช่น

  • กะงาน เครื่องมือที่ใช้ เครื่องจักร เป็นต้น เพื่อเลือกดูว่า จะได้วันที่ผลิตสินค้าเสร็จเมื่อไหร่ เปรียบเทียบกัน โดย Scenario ตรงนี้จะไม่กระทบกับแผนการผลิตหลัก

  • ซึ่งจะเห็นได้เลยว่าแผนนี้จะ Delay มากน้อยกว่ากันอย่างไร

📍ด้วยการวางแผนต่างๆ ข้างต้น หากมีออเดอร์แทรกเข้ามา หรือลูกค้าต้องการขยับวันที่ได้ของ ให้เร็วขึ้น ก็สามารถกดปุ่ม “Get CTP” เพื่อหาวันที่ที่น่าจะได้สินค้า และแจ้งลูกค้าหรือวางแผนกันภายในได้ทันทีอีกด้วย

02 Scheduling (การจัดแผนการผลิต)

📍วางแผนให้ละเอียดไปอีกด้วยการทำ Scheduling ที่มีการนำเอาเงื่อนไขหรือกฎในการจัดแผนอย่าง เช่น

  • เอางานที่ Due Date ถึงก่อนมาก่อน

  • เอางานที่ Priority สูงมาก่อน

  • เอางานที่ล็อตเล็กที่สุดมาก่อน

📍เมื่อปล่อยงานผลิตมาแล้ว ก็สามารถใส่ เงื่อนไขเพิ่มเติม ได้อีกที่เครื่องจักรที่จะผลิตนั้นๆ เช่น

  • แบบลดเวลาในการเซ็ทอัพให้น้อยที่สุด

  • แบบใช้เวลาในการผลิตน้อยที่สุด

  • แบบเอางานที่จองไว้มาก่อน เป็นต้น

  • หรือจะ Customize เพิ่มเติมนอกเหนือจากที่มีในระบบก็ได้

📍ภาพของแผนที่วางเรียบร้อยแล้ว ก็สามารถมอง

  • แบบตารางละเอียด บอกเวลาจากถึงในการผลิต

  • แบบ Gantt Chart แยกตาม Resource หรือเครื่องจักรใดๆ ได้ โดยสามารถระบุสีของงานตาม Item ที่ผลิต ตาม Job หรือ Due Date ได้

02 Scheduling (การจัดแผนการผลิต)

📍วางแผนให้ละเอียดไปอีกด้วยการทำ Scheduling ที่มีการนำเอาเงื่อนไขหรือกฎในการจัดแผนอย่าง เช่น

  • เอางานที่ Due Date ถึงก่อนมาก่อน

  • เอางานที่ Priority สูงมาก่อน

  • เอางานที่ล็อตเล็กที่สุดมาก่อน

📍เมื่อปล่อยงานผลิตมาแล้ว ก็สามารถใส่ เงื่อนไขเพิ่มเติม ได้อีกที่เครื่องจักรที่จะผลิตนั้นๆ เช่น

  • แบบลดเวลาในการเซ็ทอัพให้น้อยที่สุด

  • แบบใช้เวลาในการผลิตน้อยที่สุด

  • แบบเอางานที่จองไว้มาก่อน เป็นต้น

  • หรือจะ Customize เพิ่มเติมนอกเหนือจากที่มีในระบบก็ได้

📍ภาพของแผนที่วางเรียบร้อยแล้ว ก็สามารถมอง

  • แบบตารางละเอียด บอกเวลาจากถึงในการผลิต

  • แบบ Gantt Chart แยกตาม Resource หรือเครื่องจักรใดๆ ได้ โดยสามารถระบุสีของงานตาม Item ที่ผลิต ตาม Job หรือ Due Date ได้

03 การติดตามความคืบหน้าของงานผลิต

📍Infor CSI ช่วยให้เราเห็น "ความคืบหน้าของงานผลิต" ได้อย่างชัดเจน จากหลากหลายมุมมอง ไม่ว่าจะเป็น

  • การดูงานหรือ Job ผลิตที่ล่าช้ากว่ากำหนด ว่าทำได้แล้วเท่าไหร่ ควรจะเสร็จเมื่อไหร่

  • Job นี้ไปผลิตค้างอยู่ที่ขั้นตอนไหน หรือ Work Center ไหน เช่น ขั้นตอนการเจาะ การแพ็ก

📍เมื่อเห็นความคืบหน้าแล้ว สามารถไปหา "ปัจจัย" ที่ทำให้เกิดความล่าช้า หรือ “Bottleneck” ได้ โดยเลือกดู

  • ในมุมของกลุ่ม “Resource” หรือเครื่องจักร ว่ามี Demand อะไรค้างอยู่บ้าง และจะช้าไปกี่วัน

  • หรือในมุมของ “Item” แต่ละตัว ว่ามีไปค้างอยู่ที่ไหนบ้าง ส่งผลให้ออเดอร์ใด Delay ไปกี่วัน และเป็นของลูกค้ารายไหน

📍นอกจากนั้น ยังสามารถดู "รายการออเดอร์" ที่น่าจะมีการ Delay, จำนวนวันที่จะ Delay, วันที่น่าจะได้ของจริง และชื่อลูกค้า ได้อีกด้วย
และถ้าการดูรายงานนั้นซับซ้อนไป เราก็มาดูแดชบอร์ดได้ เช่น

  • มีงานที่ค้างผลิตทั้งหมดกี่งาน

  • ตอนนี้เครื่องจักรมีการ Utilize ไปแล้วกี่% เกิน Cap หรือไม่

  • % ของงานที่จบได้ตามกำหนดในแต่ละวัน

  • มี Job ที่เลย Due Date มาเกินระดับที่ตั้งไว้เท่าไหร่ มูลค่าของเสียหรือ Scrap ที่รับได้ หรือเวลา Downtime ของเครื่องจักร เป็นต้น

03 การติดตามความคืบหน้าของงานผลิต

📍Infor CSI ช่วยให้เราเห็น "ความคืบหน้าของงานผลิต" ได้อย่างชัดเจน จากหลากหลายมุมมอง ไม่ว่าจะเป็น

  • การดูงานหรือ Job ผลิตที่ล่าช้ากว่ากำหนด ว่าทำได้แล้วเท่าไหร่ ควรจะเสร็จเมื่อไหร่

  • Job นี้ไปผลิตค้างอยู่ที่ขั้นตอนไหน หรือ Work Center ไหน เช่น ขั้นตอนการเจาะ การแพ็ก

📍เมื่อเห็นความคืบหน้าแล้ว สามารถไปหา "ปัจจัย" ที่ทำให้เกิดความล่าช้า หรือ “Bottleneck” ได้ โดยเลือกดู

  • ในมุมของกลุ่ม “Resource” หรือเครื่องจักร ว่ามี Demand อะไรค้างอยู่บ้าง และจะช้าไปกี่วัน

  • หรือในมุมของ “Item” แต่ละตัว ว่ามีไปค้างอยู่ที่ไหนบ้าง ส่งผลให้ออเดอร์ใด Delay ไปกี่วัน และเป็นของลูกค้ารายไหน

📍นอกจากนั้น ยังสามารถดู "รายการออเดอร์" ที่น่าจะมีการ Delay, จำนวนวันที่จะ Delay, วันที่น่าจะได้ของจริง และชื่อลูกค้า ได้อีกด้วย
และถ้าการดูรายงานนั้นซับซ้อนไป เราก็มาดูแดชบอร์ดได้ เช่น

  • มีงานที่ค้างผลิตทั้งหมดกี่งาน

  • ตอนนี้เครื่องจักรมีการ Utilize ไปแล้วกี่% เกิน Cap หรือไม่

  • % ของงานที่จบได้ตามกำหนดในแต่ละวัน

  • มี Job ที่เลย Due Date มาเกินระดับที่ตั้งไว้เท่าไหร่ มูลค่าของเสียหรือ Scrap ที่รับได้ หรือเวลา Downtime ของเครื่องจักร เป็นต้น

04 Costing (ต้นทุนผลิตละเอียด)

📍ความสามารถของ Infor CSI ที่ให้ต้นทุนที่สมบูรณ์มากๆ ได้ก็เริ่มต้นมาจาก "BOM หรือสูตรการผลิต" ที่ตั้งค่าได้ละเอียดนั่นเอง โดยสามารถตั้งค่า BOM ได้หลายระดับขั้นตอน และเห็นภาพการไหลของแต่ละระดับของ BOM ได้ง่าย

📍BOM ของแต่ละ Item นั้น สามารถผูกต้นทุนได้ทั้งจาก ขั้นตอนการผลิต และวัตถุดิบ

  • ต้นทุนมาตรฐานในระดับขั้นตอนการผลิต อาจรวมถึง ค่าแรงที่ระบุเป็นรายพนักงานได้ ค่าเสื่อมเครื่องจักร การระบุ Cost Center หรือ Driver และระยะเวลาในการเซ็ทอัพ เป็นต้น

  • ส่วนต้นทุนจากวัตถุดิบนั้น สามารถระบุปริมาณที่วัตถุดิบแต่ละตัวจะใช้ในการผลิตต่อผลผลิต 1 ชิ้น โดยระบุได้ทั้ง

    • ต้นทุนมาตรฐาน หรือ Standard และต้นทุนจริง หรือ Actual

    • รองรับวิธีการคิดทั้ง FIFO, Standard, Average หรือ Specific

    • สามารถแยกระบุค่าของ ค่าแรง ค่า Overhead ค่าจ้างภายนอก และค่านำเข้าอื่นๆ มารวมได้อย่างละเอียด

    • และสามารถดู Unit cost มาตรฐาน เปรียบเทียบกับต้นทุนที่มีการซื้อล่าสุดได้อีกด้วย

📍เมื่อต้นทุนจาก BOM ถูกต้อง หลังจากที่เราบันทึกผลจากการผลิตเรียบร้อยแล้ว เราก็จะสามารถเปรียบเทียบต้นทุน​มาตรฐาน หรือประมาณการ และต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงได้ง่ายๆ ซึ่งทำให้เห็นข้อเปรียบเทียบระหว่าง Standard cost กับ Actual cost และ Variance หรือส่วนต่างที่เกิดขึ้น โดยอาจจะมาจากต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น ค่าทำงาน OT หรือใช้ของเกินที่ประมาณไว้ เป็นต้น

04 Costing (ต้นทุนผลิตละเอียด)

📍ความสามารถของ Infor CSI ที่ให้ต้นทุนที่สมบูรณ์มากๆ ได้ก็เริ่มต้นมาจาก "BOM หรือสูตรการผลิต" ที่ตั้งค่าได้ละเอียดนั่นเอง โดยสามารถตั้งค่า BOM ได้หลายระดับขั้นตอน และเห็นภาพการไหลของแต่ละระดับของ BOM ได้ง่าย

📍BOM ของแต่ละ Item นั้น สามารถผูกต้นทุนได้ทั้งจาก ขั้นตอนการผลิต และวัตถุดิบ

  • ต้นทุนมาตรฐานในระดับขั้นตอนการผลิต อาจรวมถึง ค่าแรงที่ระบุเป็นรายพนักงานได้ ค่าเสื่อมเครื่องจักร การระบุ Cost Center หรือ Driver และระยะเวลาในการเซ็ทอัพ เป็นต้น

  • ส่วนต้นทุนจากวัตถุดิบนั้น สามารถระบุปริมาณที่วัตถุดิบแต่ละตัวจะใช้ในการผลิตต่อผลผลิต 1 ชิ้น โดยระบุได้ทั้ง

    • ต้นทุนมาตรฐาน หรือ Standard และต้นทุนจริง หรือ Actual

    • รองรับวิธีการคิดทั้ง FIFO, Standard, Average หรือ Specific

    • สามารถแยกระบุค่าของ ค่าแรง ค่า Overhead ค่าจ้างภายนอก และค่านำเข้าอื่นๆ มารวมได้อย่างละเอียด

    • และสามารถดู Unit cost มาตรฐาน เปรียบเทียบกับต้นทุนที่มีการซื้อล่าสุดได้อีกด้วย

📍เมื่อต้นทุนจาก BOM ถูกต้อง หลังจากที่เราบันทึกผลจากการผลิตเรียบร้อยแล้ว เราก็จะสามารถเปรียบเทียบต้นทุน​มาตรฐาน หรือประมาณการ และต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงได้ง่ายๆ ซึ่งทำให้เห็นข้อเปรียบเทียบระหว่าง Standard cost กับ Actual cost และ Variance หรือส่วนต่างที่เกิดขึ้น โดยอาจจะมาจากต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น ค่าทำงาน OT หรือใช้ของเกินที่ประมาณไว้ เป็นต้น

05 Quality Management (การตรวจสอบคุณภาพ)

📍Infor CSI มาพร้อมโมดูล Quality Control หรือการตรวจสอบคุณภาพสินค้า ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนการรับสินค้า, ระหว่างผลิตสินค้า, หลังจากผลิตเสร็จแล้ว, หรือก่อนหยิบไปขาย โดยสามารถกำหนดได้เลยว่า

  • Item ไหนบ้างจะต้องผ่าน QC ในขั้นตอนใด

  • ต้องใช้เครื่องมือวัดอะไร

  • วิธีทดสอบอย่างไร

  • รวมถึงค่าทดสอบมาตรฐานที่ควรจะได้

📍เริ่มจากการกำหนดแผนในการสุ่มตรวจตัวอย่างสินค้า (Sampling) โดยระบุ % สัดส่วนในการสุ่มตรวจตามจำนวนสินค้าที่รับเข้ามาทั้งหมด เพื่อให้ระบบคำนวณ จำนวนตัวอย่าง และสร้างใบสั่งตรวจสอบคุณภาพให้อัตโนมัติ เมื่อตรวจสอบแล้ว สามารถใส่ผลในระบบได้เลยตามจำนวนตัวอย่างที่ระบบคำนวณไว้ให้

📍หลังจากตรวจสอบแล้ว ก็ยังสามารถออกเอกสารต่างๆ ได้ เช่น

  • เอกสาร CAR หรือ NCR (Non-Compliance Report) ในกรณีที่มีการ Reject สินค้า จะออกผลทดสอบและเหตุผลที่ Reject แนวทางการแก้ไข ให้กับ Supplier หรือทีมภายใน

  • เอกสาร MRR (Material Review Report) ในกรณีที่มี Defect สาเหตุ แนวทางการแก้ไขและป้องกัน

  • เอกสาร CoC (Certificate of Conformance Report) ใบรับรองผลการทดสอบสินค้า ที่ออกให้กับลูกค้า

05 Quality Management (การตรวจสอบคุณภาพ)

📍Infor CSI มาพร้อมโมดูล Quality Control หรือการตรวจสอบคุณภาพสินค้า ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนการรับสินค้า, ระหว่างผลิตสินค้า, หลังจากผลิตเสร็จแล้ว, หรือก่อนหยิบไปขาย โดยสามารถกำหนดได้เลยว่า

  • Item ไหนบ้างจะต้องผ่าน QC ในขั้นตอนใด

  • ต้องใช้เครื่องมือวัดอะไร

  • วิธีทดสอบอย่างไร

  • รวมถึงค่าทดสอบมาตรฐานที่ควรจะได้

📍เริ่มจากการกำหนดแผนในการสุ่มตรวจตัวอย่างสินค้า (Sampling) โดยระบุ % สัดส่วนในการสุ่มตรวจตามจำนวนสินค้าที่รับเข้ามาทั้งหมด เพื่อให้ระบบคำนวณ จำนวนตัวอย่าง และสร้างใบสั่งตรวจสอบคุณภาพให้อัตโนมัติ เมื่อตรวจสอบแล้ว สามารถใส่ผลในระบบได้เลยตามจำนวนตัวอย่างที่ระบบคำนวณไว้ให้

📍หลังจากตรวจสอบแล้ว ก็ยังสามารถออกเอกสารต่างๆ ได้ เช่น

  • เอกสาร CAR หรือ NCR (Non-Compliance Report) ในกรณีที่มีการ Reject สินค้า จะออกผลทดสอบและเหตุผลที่ Reject แนวทางการแก้ไข ให้กับ Supplier หรือทีมภายใน

  • เอกสาร MRR (Material Review Report) ในกรณีที่มี Defect สาเหตุ แนวทางการแก้ไขและป้องกัน

  • เอกสาร CoC (Certificate of Conformance Report) ใบรับรองผลการทดสอบสินค้า ที่ออกให้กับลูกค้า

06 Project Management (การจัดการโปรเจ็ค)

📍จัดการต้นทุน และรายได้ค่าใช้จ่ายของโปรเจ็คได้อย่างครบถ้วน ด้วยโมดูล Project Management ที่ Built-in มาใน Infor CSI เชื่อมต่อกับด้านขายและด้านซื้อเป็นเนื้อเดียวกัน

เหมาะสำหรับโปรเจ็คการขึ้นระบบ การก่อสร้าง การติดตั้งงาน ที่ต้องออกใบแจ้งหนี้ตาม Milestone

📍เริ่มจากการทำ Estimates หรือประมาณการต้นทุนในโปรเจ็ค ทั้งค่าวัตถุดิบ ค่าแรง Overhead หรือค่าจัดการอื่นๆ เพื่อให้สามารถประมาณการกำไรขาดทุนของโปรเจ็คได้ล่วงหน้า ช่วยตัดสินใจความคุ้มค่าในการทำโปรเจ็ค

📍เมื่อจะเริ่มโปรเจ็คจริงๆ ก็สามารถแปลงจาก Estimates ที่สร้างไว้เป็นตั้งเป็นโปรเจ็คจริงๆ ได้เลย

  • ภายในโปรเจ็คสามารถระบุ Task ต่างๆ ได้หลายระดับ

  • ในแต่ละ Task ก็สามารถระบุต้นทุนที่เกี่ยวข้องของตนเองได้ เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่าแรง ค่าบริหารงานโครงการ โดยลิงค์ไปออกใบ PO หรือ Job สั่งผลิตได้เลยอีกด้วย

  • หากมีการเชื่อมต่อกับ Microsoft Project ก็สามารถดูโปรเจ็คในรูปแบบ Gantt chart ได้เลย

06 Project Management (การจัดการโปรเจ็ค)

📍จัดการต้นทุน และรายได้ค่าใช้จ่ายของโปรเจ็คได้อย่างครบถ้วน ด้วยโมดูล Project Management ที่ Built-in มาใน Infor CSI เชื่อมต่อกับด้านขายและด้านซื้อเป็นเนื้อเดียวกัน

เหมาะสำหรับโปรเจ็คการขึ้นระบบ การก่อสร้าง การติดตั้งงาน ที่ต้องออกใบแจ้งหนี้ตาม Milestone

📍เริ่มจากการทำ Estimates หรือประมาณการต้นทุนในโปรเจ็ค ทั้งค่าวัตถุดิบ ค่าแรง Overhead หรือค่าจัดการอื่นๆ เพื่อให้สามารถประมาณการกำไรขาดทุนของโปรเจ็คได้ล่วงหน้า ช่วยตัดสินใจความคุ้มค่าในการทำโปรเจ็ค

📍เมื่อจะเริ่มโปรเจ็คจริงๆ ก็สามารถแปลงจาก Estimates ที่สร้างไว้เป็นตั้งเป็นโปรเจ็คจริงๆ ได้เลย

  • ภายในโปรเจ็คสามารถระบุ Task ต่างๆ ได้หลายระดับ

  • ในแต่ละ Task ก็สามารถระบุต้นทุนที่เกี่ยวข้องของตนเองได้ เช่น ค่าวัตถุดิบ ค่าแรง ค่าบริหารงานโครงการ โดยลิงค์ไปออกใบ PO หรือ Job สั่งผลิตได้เลยอีกด้วย

  • หากมีการเชื่อมต่อกับ Microsoft Project ก็สามารถดูโปรเจ็คในรูปแบบ Gantt chart ได้เลย

07 Service management (การจัดการการบริการหลังการขาย)

📍จัดการสัญญาบริการหลังการขายกับลูกค้า หรือ Service Contracts จากในระบบ โดยสามารถ

  • ระบุความถี่ในการวางบิล

  • รอบการเข้าบริการ เช่นเข้าไป Maintenance เครื่องจักร ว่ามีตารางและเงื่อนไขอย่างไร

  • เงื่อนไข Warranty

📍นอกจากนั้น ยังบันทึก Incident หรือปัญหาที่แจ้งเข้ามาจากลูกค้า และในกรณีที่ต้องไปบริการลูกค้า สามารถสร้างนัดหมาย โดยระบุวันที่และคนที่จะเข้าไป และบันทึกสาเหตุ และวิธีแก้ปัญหาเอาไว้เป็นประวัติได้ แล้วนำไปสร้างใบคำร้องงานบริการ (Service Request Order) เพื่อออกไปบริการหรือแก้ปัญหาใดๆให้ลูกค้า

📍หากต้องมีค่าใช้จ่ายนอกเหนือใต้ Warranty ก็สามารถระบุค่าแรง ค่าใช้จ่ายเพิ่มใดๆ ที่ต้องใช้ในการให้บริการ และออกใบแจ้งหนี้ได้เลย ไม่ว่าจะเป็นการคิดแบบก้อนเดียวหรือตามใช้ที่จริงแบบ Time and Material

07 Service management (การจัดการการบริการหลังการขาย)

📍จัดการสัญญาบริการหลังการขายกับลูกค้า หรือ Service Contracts จากในระบบ โดยสามารถ

  • ระบุความถี่ในการวางบิล

  • รอบการเข้าบริการ เช่นเข้าไป Maintenance เครื่องจักร ว่ามีตารางและเงื่อนไขอย่างไร

  • เงื่อนไข Warranty

📍นอกจากนั้น ยังบันทึก Incident หรือปัญหาที่แจ้งเข้ามาจากลูกค้า และในกรณีที่ต้องไปบริการลูกค้า สามารถสร้างนัดหมาย โดยระบุวันที่และคนที่จะเข้าไป และบันทึกสาเหตุ และวิธีแก้ปัญหาเอาไว้เป็นประวัติได้ แล้วนำไปสร้างใบคำร้องงานบริการ (Service Request Order) เพื่อออกไปบริการหรือแก้ปัญหาใดๆให้ลูกค้า

📍หากต้องมีค่าใช้จ่ายนอกเหนือใต้ Warranty ก็สามารถระบุค่าแรง ค่าใช้จ่ายเพิ่มใดๆ ที่ต้องใช้ในการให้บริการ และออกใบแจ้งหนี้ได้เลย ไม่ว่าจะเป็นการคิดแบบก้อนเดียวหรือตามใช้ที่จริงแบบ Time and Material

08 Infor OS

📍ด้วยจุดยืนที่อยากจะเป็นแพตฟอร์มในการเชื่อมต่อทุกๆระบบและทุกๆคนเข้ามาทำงานร่วมกัน Infor ก็มี OS เป็นของตนเอง เรียกว่า “Infor OS”

📍Infor OS ประกอบไปด้วยเครื่องมือที่ช่วยเสริมให้ User ใช้งานแอปพลิเคชันบน Infor CSI ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่น

  • การเชื่อมต่อกับ 3rd-Party Applications ผ่านทาง ION API Gateway

  • แดชบอร์ดที่สร้างมาตามบทบาทหรือ Role ของผู้ใช้งาน

  • ระบบ “ION Workflow” เพื่อสร้าง Workflow automation ให้งานไหลต่อกันได้อย่างอัตโนมัติ เช่น กระบวนการขออนุมัติต่างๆ

  • ระบบ “IDM” เพื่อจัดการเอกสารและไฟล์ต่างๆ ในระบบ ไม่ว่าจะอัพโหลดไว้ในโมดูลใด ก็สามารถมาจัดการไฟล์หรือแชร์ไฟล์จากที่นี่ได้

  • "ระบบ Digital Assistant ที่ช่วยค้นหาคำตอบต่างๆ จากในระบบได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องค้นหาเอง เพียง query คำถามในรูปแบบการแชท และ Assistant ก็จะมีการ Learning จากสิ่งที่เราป้อนเข้าไปในระบบเรื่อยๆ

08 Infor OS

📍ด้วยจุดยืนที่อยากจะเป็นแพตฟอร์มในการเชื่อมต่อทุกๆระบบและทุกๆคนเข้ามาทำงานร่วมกัน Infor ก็มี OS เป็นของตนเอง เรียกว่า “Infor OS”

📍Infor OS ประกอบไปด้วยเครื่องมือที่ช่วยเสริมให้ User ใช้งานแอปพลิเคชันบน Infor CSI ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่น

  • การเชื่อมต่อกับ 3rd-Party Applications ผ่านทาง ION API Gateway

  • แดชบอร์ดที่สร้างมาตามบทบาทหรือ Role ของผู้ใช้งาน

  • ระบบ “ION Workflow” เพื่อสร้าง Workflow automation ให้งานไหลต่อกันได้อย่างอัตโนมัติ เช่น กระบวนการขออนุมัติต่างๆ

  • ระบบ “IDM” เพื่อจัดการเอกสารและไฟล์ต่างๆ ในระบบ ไม่ว่าจะอัพโหลดไว้ในโมดูลใด ก็สามารถมาจัดการไฟล์หรือแชร์ไฟล์จากที่นี่ได้

  • "ระบบ Digital Assistant ที่ช่วยค้นหาคำตอบต่างๆ จากในระบบได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องค้นหาเอง เพียง query คำถามในรูปแบบการแชท และ Assistant ก็จะมีการ Learning จากสิ่งที่เราป้อนเข้าไปในระบบเรื่อยๆ

09 Dashboard และ Analytics

แน่นอนว่า แดชบอร์ดอย่าง “Birst” ของ Infor CSI ก็ Powerful ไม่แพ้ส่วนอื่นๆ

เพราะมีคอนเท้นท์ที่สร้างเอาไว้ให้แล้วตามมิติมุมมองที่ต้องการวิเคราะห์ เช่น

  • Inventory เพื่อดูต้นทุนสินค้าตามกลุ่มต่างๆ หรือตามคลัง

  • Finance เพื่อดูภาพการวิเคราะห์ลูกหนี้เจ้าหนี้, Balance sheet, Cash flow, Income statement เป็นต้น

  • Sales Analysis เพื่อดูยอดขายตามกลุ่มสินค้า ต้นทุนกลุ่มสินค้า กำไรขั้นต้น และลูกค้าขายดี เป็นต้น

ซึ่งหากอยากจะ Custom แดชบอร์ดขึ้นมาเองก็ทำได้เช่นกัน

09 Dashboard และ Analytics

แน่นอนว่า แดชบอร์ดอย่าง “Birst” ของ Infor CSI ก็ Powerful ไม่แพ้ส่วนอื่นๆ

เพราะมีคอนเท้นท์ที่สร้างเอาไว้ให้แล้วตามมิติมุมมองที่ต้องการวิเคราะห์ เช่น

  • Inventory เพื่อดูต้นทุนสินค้าตามกลุ่มต่างๆ หรือตามคลัง

  • Finance เพื่อดูภาพการวิเคราะห์ลูกหนี้เจ้าหนี้, Balance sheet, Cash flow, Income statement เป็นต้น

  • Sales Analysis เพื่อดูยอดขายตามกลุ่มสินค้า ต้นทุนกลุ่มสินค้า กำไรขั้นต้น และลูกค้าขายดี เป็นต้น

ซึ่งหากอยากจะ Custom แดชบอร์ดขึ้นมาเองก็ทำได้เช่นกัน

10 Customization (การปรับแต่งโปรแกรม)

📍การทำ Customization หรือเขียนโปรแกรมปรับแต่ง ใน Infor CSI ก็ทำได้อย่างยืดหยุ่นด้วยเครื่องมือที่มีมาให้แล้วในระบบ ด้วยแพลตฟอร์ม Mongoose

โดยแนวคิด คือ ต้องการรองรับการอัพเกรดเวอร์ชันของ Infor CSI ได้อย่าง Seamless ไม่ว่าจะ Customize ปรับแต่งอะไรไว้ ก็สามารถอัพเกรดได้โดยไม่กระทบสิ่งที่เขียน Customize เอาไว้เดิม

ทำให้ลูกค้าสามารถได้รับฟีเจอร์ใหม่ๆ ที่ Infor อัพเกรดมาให้ได้อย่างไม่ต้องกังวล

📍การปรับแต่งหน้าจอใน Infor CSI ก็ทำได้แบบทั้ง No-code, Low-code, และ Full-code ด้วยพื้นฐานทาง Programming เบื้องต้นก็สามารถเรียนรู้การปรับแต่งใน Infor CSI ได้ เช่น การเพิ่มช่องข้อมูล ปรับแต่งฟอร์ม รายงาน หรือแดชบอร์ด โดยสามารถระบุได้ด้วยว่าสิ่งที่ปรับแต่งมานั้น ใครควรจะเข้าถึงได้บ้าง

10 Customization (การปรับแต่งโปรแกรม)

📍การทำ Customization หรือเขียนโปรแกรมปรับแต่ง ใน Infor CSI ก็ทำได้อย่างยืดหยุ่นด้วยเครื่องมือที่มีมาให้แล้วในระบบ ด้วยแพลตฟอร์ม Mongoose

โดยแนวคิด คือ ต้องการรองรับการอัพเกรดเวอร์ชันของ Infor CSI ได้อย่าง Seamless ไม่ว่าจะ Customize ปรับแต่งอะไรไว้ ก็สามารถอัพเกรดได้โดยไม่กระทบสิ่งที่เขียน Customize เอาไว้เดิม

ทำให้ลูกค้าสามารถได้รับฟีเจอร์ใหม่ๆ ที่ Infor อัพเกรดมาให้ได้อย่างไม่ต้องกังวล

📍การปรับแต่งหน้าจอใน Infor CSI ก็ทำได้แบบทั้ง No-code, Low-code, และ Full-code ด้วยพื้นฐานทาง Programming เบื้องต้นก็สามารถเรียนรู้การปรับแต่งใน Infor CSI ได้ เช่น การเพิ่มช่องข้อมูล ปรับแต่งฟอร์ม รายงาน หรือแดชบอร์ด โดยสามารถระบุได้ด้วยว่าสิ่งที่ปรับแต่งมานั้น ใครควรจะเข้าถึงได้บ้าง

Infor CSI เหมาะกับใคร?

📍ธุรกิจที่เหมาะกับการใช้ Infor CSI ได้แก่

  • ธุรกิจผลิตแบบชิ้นส่วนหรือ Discrete Manufacturing เช่น รถยนต์ อุปกรณ์เทคโนโลยี พลาสติก แพ็กเกจจิ้งอาหาร เป็นต้น

  • ธุรกิจผลิตแบบต่อเนื่อง หรือ Process Manufacturing เช่น เคมี อาหาร การฉีดหรือผสมพลาสติก เป็นต้น

  • ธุรกิจประเภทโปรเจ็ค เช่น การติดตั้งแบบ ณ สถานที่ การสร้างเรือ ห้องเย็น เป็นต้น

📍ขนาดของธุรกิจประมาณรายได้ 300-500 ล้านต่อปี

Infor CSI เหมาะกับใคร?

📍ธุรกิจที่เหมาะกับการใช้ Infor CSI ได้แก่

  • ธุรกิจผลิตแบบชิ้นส่วนหรือ Discrete Manufacturing เช่น รถยนต์ อุปกรณ์เทคโนโลยี พลาสติก แพ็กเกจจิ้งอาหาร เป็นต้น

  • ธุรกิจผลิตแบบต่อเนื่อง หรือ Process Manufacturing เช่น เคมี อาหาร การฉีดหรือผสมพลาสติก เป็นต้น

  • ธุรกิจประเภทโปรเจ็ค เช่น การติดตั้งแบบ ณ สถานที่ การสร้างเรือ ห้องเย็น เป็นต้น

📍ขนาดของธุรกิจประมาณรายได้ 300-500 ล้านต่อปี

Pricing

มาดูในส่วนของมูลค่าการลงทุนกับระบบ Infor CSI กันบ้าง

  • ในเวอร์ชัน CSI นั้น License จะขายเป็นแบบ Subscription หรือเช่าใช้รายปีตามจำนวนผู้ใช้งาน เริ่มต้นจากผู้ใช้งาน 10 คนขึ้นไป

  • มูลค่าการลงทุน เริ่มต้นอยู่ที่ประมาณ 4 ล้านบาทในปีแรกสำหรับ ผู้ใช้งาน 10 ท่านใน 1 บริษัททำการ และความต้องการที่ไม่ได้มีความซับซ้อน

Pricing

มาดูในส่วนของมูลค่าการลงทุนกับระบบ Infor CSI กันบ้าง

  • ในเวอร์ชัน CSI นั้น License จะขายเป็นแบบ Subscription หรือเช่าใช้รายปีตามจำนวนผู้ใช้งาน เริ่มต้นจากผู้ใช้งาน 10 คนขึ้นไป

  • มูลค่าการลงทุน เริ่มต้นอยู่ที่ประมาณ 4 ล้านบาทในปีแรกสำหรับ ผู้ใช้งาน 10 ท่านใน 1 บริษัททำการ และความต้องการที่ไม่ได้มีความซับซ้อน

ขอขอบคุณ PPCC

เป็นยังไงกันบ้างคะ สำหรับ 10 ข้อที่ Infor CSI ทำได้ดีมากๆในตลาด ERP พูดได้ว่าเป็นระบบหลักที่ทุกธุรกิจผลิตถามหามาตลอดเลยครับ

📍ต้องขอบคุณข้อมูลจากบริษัท PPCC หนึ่งใน Partner ที่เชี่ยวชาญที่สุดของไทย ด้วยประสบการณ์ทำงานเกือบ 20 ปี ดูแลลูกค้าอุตสาหกรรมผลิตมาแล้วมากมายหลายประเภท

📍หากสนใจเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ Infor CSI และบริการของ PPCC สามารถติดต่อได้ตามช่องทางต่างๆ ดังนี้

  • Website: https://www.ppcc.co.th/

  • Facebook: https://www.facebook.com/PPCC.co.th

  • Tel: 02 036 0840 , 086 325 6892

  • LineOA: @ppcc

ASAP Project เป็นที่ปรึกษาด้าน Digital Transformation ที่จะช่วยสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับธุรกิจด้วยเทคโนโลยี

#inforcsi #infor #ppcc

Feeling overwhelmed?
Let us help you find the right tools.

Feeling overwhelmed?
Let us help you find the right tools.

Feeling overwhelmed?
Let us help you find the right tools.